โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ หลักสูตร การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI เพื่อเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนขององค์กร

โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ หลักสูตร

การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI เพื่อเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนขององค์กร

Compliance with GRI Sustainability Reporting Standards for Corporates Sustainability Discloser

วันที่ 17-19 ธันวาคม 2567

 

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ โครงสร้าง แนวคิดหลัก และกระบวนการจัดทำรายงานความยั่งยืนตามมาตรฐาน GRI

     2. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการกำหนดประเด็นสำคัญสำหรับการรายงานความยั่งยืนขององค์กร

     3. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI เพื่อการจัดทำรายงานและเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนขององค์กร

วิทยากร

  • นายโอภาส จารุรัตน์   Lead Verifier การรับรองรายงาน การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG inventory)/การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainability Report)
  • นางสาวสิริรัตน์ รัตนพาณิชย์  Lead CFO verifier, CFO, CFP Consultant, Sustainability Consultant, and related scheme

 

การอบรมภาคบรรยาย (ทฤษฎี) และการฝึกปฏิบัติ (ภาคปฏิบัติการ) รวมจำนวน 18 ชั่วโมง โดยผู้เข้าอบรมต้องมีเวลาเข้าร่วมการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของระยะเวลาการอบรมตลอดหลักสูตรและจะได้รับเอกสารรับรองการอบรม (certificate) จากคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อัตราค่าลงทะเบียน 15,000 บาท/คน

*** พิเศษ สำหรับองค์กรที่สมัคร 2คน ขึ้นไป รับส่วนลด 10 % เหลือเพียงท่านละ 13,500 บาท***

สมัครด่วน รับเพียง 18 ท่าน/ โครงการ  เพื่อความเข้มข้นในการลงมือปฎิบัติการเขียนรายงานที่ใช้ได้จริง

>>> สมัครเลย <<<

 

กำหนดการ

วัน-เวลา

กิจกรรม

วิทยากร

วันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ห้อง 4218 (อาคาร 4 ชั้น 2)

09:00 –  09.10 น.

พิธีเปิด – กล่าวต้อนรับ

 

09:10 – 10:30 น.

Section 1 : Lecture

  • บทนำว่าด้วยความยั่งยืน วัตถุประสงค์และเป้าหมายของมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI
  • ความคาดหวังของผู้เข้าอบรม

คุณโอภาส จารุรัตน์

10:30 -10:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

10:45 – 12:00 น.

Section 2 : Lecture

  • แนวคิดหลัก (Key concepts)
  • ศัพท์บัญญัติ (Terminologies)
  • หลักการสำคัญ (Reporting principle) ของมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI
  • กระบวนการจัดทำและเปิดเผยรายงานความยั่งยืนตามมาตรฐาน GRI (Reporting in accordance with the GRI Standards)

คุณโอภาส จารุรัตน์

12:00 – 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 – 14:30 น.

Section 3 : Lecture

  • โครงสร้าง the GRI standards;
  • GRI 1: Foundation 2021;  GRI 2: General Disclosers  2021, GRI 3: Material Topics  2021,  GRI Sector Standards และ GRI Topic Standards
  • การประเมินเพื่อกำหนดประเด็นสำคัญ (Materiality assessment: GRI 3)

คุณโอภาส จารุรัตน์

14:30 – 14:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

14:45 –  16:00 น

Section 4 : Workshop 

  • กระบวนการประเมินเพื่อกำหนดประเด็นสำคัญ (Materiality assessment process: GRI 3)
  • การกำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Determine Stakeholders)
  • กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  (Stakeholder engagements)
  • การจัดลำดับประเด็นสำคัญ (Prioritize material topics)

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

วันพุธที่ 18 ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ห้อง 4218

09:00 –  10.30 น.

Section 5 : Lecture

  • GRI 3-3 การจัดการและการเปิดเผยรายประเด็น (Topic management disclosure)

คุณโอภาส จารุรัตน์

10:30 -10:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

10:45 – 12:00 น.

Section 6 : Lecture

  • GRI 2 : General discloser และ Organization profiles
  • GRI 1 : การรายงานและการไม่รายงาน เกณฑ์และการรับรองรายงานความยั่งยืน (Omission , Criteria, and Assurance)

คุณโอภาส จารุรัตน์

12:00 – 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 – 14:30 น.

Section 7 : Workshop

  • รายงานความยั่งยืนรายภาคส่วนและข้อกำหนด (GRI sector as additional requirement)

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

14:30 – 14:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

14:45 –  16:00

Section 8 : Lecture

  • การเตรียมดัชนีเนื้อหา GRI (Prepare GRI content index) และการเชื่อมโยงเพื่อปรับมาตรฐาน GRI ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดมาตรฐานการรายงานอื่น ๆ (Aligning sustainability reporting with other reporting standard) เช่น SDGs และ  แบบ 56-1 one report
  • การเตรียมคำชี้แจงการใช้งานรายงานความยั่งยืน (Prepare statement of use)
  • การเปิดเผยรายงานความยั่งยืนและดัชนีเนื้อ
  • การแจ้งการใช้มาตรฐานฯ ต่อองค์กร GRI

 

 

คุณโอภาส จารุรัตน์

 

วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ห้อง 4218

09:00 –  10.30 น.

Section 9: Workshop

  • การเขียนรายงานความยั่งยืนรายประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม: GRI 305:  Emission

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

10:30 -10:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

10:45 – 12:00 น.

Section 10: Workshop

  • การเขียนรายงานความยั่งยืนรายประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม (300 Environmental topics): GRI 303:  Water and Effluents หรือ GRI 306:  Waste หรือ GRI 304:  Biodiversity

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

12:00 – 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 – 14:30 น.

Section 11: Workshop

  • การเขียนรายงานความยั่งยืนรายประเด็นด้านสังคม 400 (Social topics) GRI 403:  Occupational Health and Safety หรือ GRI 401:  Employment

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

14:30 – 14:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

14:45 –  16:00

Section 12: Workshop

  • การเขียนรายงานความยั่งยืนรายประเด็นด้านเศรษฐกิจ 200 (Economic topics) GRI 201: Economic Performance หรือ GRI 205: Anti-corruption

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

อบรมคาร์บอนฟุตพริ้นท์ 2567 (CFO)

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 

“พื้นฐานการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร และมาตรฐาน ISO 14064-1”

ระหว่างวันที่ 4 – 5 กันยายน 2567

คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจก นโยบายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission)
  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับหลักการพื้นฐานสำหรับการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ตามแนวทางการประเมินปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) และมาตรฐาน ISO 14064-1

 

ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจก นโยบายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) ตลอดจนได้รับหลักการสำหรับการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ตามแนวทางการประเมินปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) และมาตรฐาน ISO 14064-1

 

ค่าลงทะเบียน

ท่านละ 4,000 บาท (รวมอาหารว่าง และอาหารกลางวัน)

>> ลงทะเบียนอบรม <<

** Download เอกสารประกอบการอบรม   (ผู้ประสานงานจะส่งรหัสผ่าน ให้ผู้ลงทะเบียนทาง e-mail) 

** Download กำหนดการอบรม

CFO_sch_2024

ผู้ประสานงานโครงการอบรม

น.ส. วิลินธร ชูโต (เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม) 

โทร 0 2441 5000 ต่อ 2225, มือถือ 0961566999

อีเมล: vilinthorn.xut@mahidol.ac.th

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประเมินการกักเก็บคาร์บอน และการพัฒนาโครงการ T-VER ภาคการปลูกป่าและการฟื้นฟูป่า”

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

“การประเมินการกักเก็บคาร์บอน และการพัฒนาโครงการ T-VER  ภาคการปลูกป่าและการฟื้นฟูป่า”

 ระหว่างวันที่ 27-28 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 – 16:00 น. (จำนวน 2 วัน)

ณ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรรมรัตน์ พุทธไทย

คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  

 

     หัวข้อการบรรยายและฝึกปฏิบัติ

  • ภาพรวมของโครงการ T-VER ภาคการปลูกป่าและการฟื้นฟูป่า
  • การพัฒนาข้อเสนอโครงการ (project design document, PDD)
  • การกำหนดตัวแปรที่ต้องดำเนินการในภาคสนาม
  • การสุ่มตัวอย่าง การวัดการเจริญเติบโตของต้นไม้ การควบคุมค่า CV
  • การฝึกปฏิบัติการสำรวจ การเก็บข้อมูลภาคสนาม เทคนิคการสำรวจภาคสนาม
  • การนำเข้าข้อมูลการสำรวจในระบบ และการคำนวณ และการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

ค่าลงทะเบียน – ท่านละ 3,000 บาท (รวมอาหารว่าง และอาหารกลางวัน)

>> ลงทะเบียนอบรม  <<<    

Download กำหนดการอบรม

สอบถามเพิ่มเติม 

สำนักงานวิทยบริการด้านสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

โทร 0 2441 5000 ต่อ 2225 อีเมล: vilinthorn.xut@mahidol.ac.th

Tver_2024

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ วิธีการออกข้อสอบ การวัดและประเมินผล

งานบริการการศึกษา  ขอเรียนเชิญคณาจารย์ และผู้สนใจ

เข้ารับการอบรม เชิงปฏิบัติการ

เรื่อง “วิธีการออกข้อสอบ การวัดและประเมินผล” 
ในวันพฤหัสที่ 22 ธันวาคม 2565 เวลา 08.30 -16.00 น. 
ณ ห้องประชุม รศ.นาท ตัณฑวิรุฬห์ (1103)
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  

โดย วิทยากรบรรยายจาก ศูนย์ความป็นเลิศด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (SHEE)

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
นายแพทย์ วุฒิภัทร  เอี่ยมมีชัย
ดร.เกียรติยศ กุลเดชชัยชาญ
ดร.ปาริชาต อภิเดชากุล

ลงทะเบียน ได้ที่ >> https://forms.office.com/r/hcC5bemFFh

 

The Power Green Camp 17 ค่ายเยาวชนวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

โครงการค่ายเยาวชนวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม รุ่นที่ 17
(The Power Green Camp 17)

Climate Change, We Must Change – เริ่มเพื่อโลก

วันที่ 15 ตุลาคม – 25 ตุลาคม พ.ศ. 2565

สมัครเข้าร่วมโครงการ คลิก https://www.powergreencamp.com/

PARE Program Spring School 2022

PARE Program Spring School 2022
The objectives of PARE program is to foster individuals with four specific characteristics that are essential for global leaders who will be active in resolving challenges related to PARE (Population-Activities-Resources-Environments) in Asia, and able to contribute to the sustainability of resources in Asia. For implementation, Hokkaido University formed the PARE consortium with 6 partner universities in Indonesia and Thailand.

>> รายละเอียดเพิ่มเติม <<