ESG Materiality and Digital Innovation in Sustainable Supply Chains

คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ จัดโครงการอบรม หัวข้อ From Risk to Resilience:
ESG Materiality and Digital Innovation in Sustainable Supply Chains
ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นในการประเมินความเสี่ยงด้าน ESG
ควบคู่ไปกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการโซ่อุปทาน เพื่อให้องค์กรสามารถขับเคลื่อนธุรกิจอย่างยั่งยืน
ตอบรับกับบริบทการแข่งขันและความเปลี่ยนแปลงในระดับสากลได้อย่างมั่นคง

1- 2 มิถุนายน 2568 เวลา 09.00 – 16.30 น.
ณ อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

 

เนื้อหาหลักสูตรอบรม

5.1 ESG Risk Assessment Process

5.2 Tools and Frameworks for ESG Risk Assessment

5.3 Importance of supply chain management in sustainability

5.4 Ethical sourcing and supplier responsibility

5.5 Green Logistics

 

ลักษณะการอบรม

การบรรยายและการอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนแนวทางการบริหารความเสี่ยงผ่านกิจกรรมกลุ่ม

 

อัตราค่าลงทะเบียน  3,500 บาท/คน 

พิเศษ early bird ลงทะเบียนและชำระค่าลงทะเบียนล่วงหน้า  ลดเหลือ 3,200 บาท/คน

          (ภายในวันที่ 31 ก.ค 2568)     

 

>>>  ลงละเบียนเลย <<< 

 

     

การประยุกต์ใช้ Google Earth Engine เพื่องานด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

โครงการอบรม การประยุกต์ใช้ Google Earth Engine เพื่องานด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

วันที่ 17 – 18 กรกฎาคม 2568

ณ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อการบรรยายและปฏิบัติ

  • พื้นฐาน JavaScriptและ ข้อมูลมหัตด้วย GEE
  • ข้อมูลจาก Data Catalog และจากแหล่งอื่น
  • การป้อนข้อมูล การนำเข้า/ส่งออกข้อมูลและชุดคำสั่ง
  • การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นและขั้นสูง
  • พื้นฐานการสร้างเว็บแอปพลิเคชั่น

 

ค่าลงทะเบียน 3,500 บาท

  • ราคาพิเศษ 3,000 บาท สำหรับ  นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล
  • ลด 10% สำหรับ ผู้สมัครเป็นกลุ่ม 3 คนขึ้นไป
  • หรือ ผู้ที่เคยผ่านการอบรม กับเรามาก่อน

>> ลงทะเบียนเลย <<< 

 

 

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้งานด้วยโปรแกรม QGIS

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้งานด้วยโปรแกรม QGIS

วันที่ 16 –17  มิถุนายน 2568

ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ GIS อาคารสารสนเทศผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนากร อ้วนอ่อน

คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

 

คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม: สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับพื้นฐานได้ดี

>> ลงทะเบียน << 

รายละเอียดกำหนดการ

หลักสูตร “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้งานด้วยโปรแกรม QGIS”

ระหว่างวันที่ 16 –17  มิถุนายน 2568

วันที่ 16 มิถุนายน 2568
9:00-10:30 น. การแนะนำโปรแกรม QGIS และภูมิสารสนเทศ

–             GUI ของโปรแกรม QGIS

–             การตั้งค่าการทำงาน

–             แหล่งข้อมูลภูมิสารสนเทศ

–             การแสดงข้อมูลภูมิสารสนเทศในโปรแกรม QGIS

10:30-10:45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10:45-12:00 น. การจำแนกข้อมูลสำหรับแสดงแผนที่

–             การกำหนดสัญลักษณ์ข้อมูล

–             การจำแนกข้อมูลในตารางข้อมูล

12:00-13:00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
13:00-14:45 น. การกรองและสืบค้นข้อมูล

–             การเชื่อมโยงตารางข้อมูล

–             การสืบค้นข้อมูลลักษณะประจำ

–             การสืบค้นข้อมูลเชิงพื้นที่

–             การกรองข้อมูลตามเงื่อนไขที่กำหนด

14:45-15:00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15:00-15:50น. การนำเข้าและแก้ไขข้อมูล

–             การนำเข้าข้อมูลจากตารางข้อมูล

–             การนำเข้าข้อมูลจากการดิจิไทซ์

–             การคำนวณข้อมูลในตารางข้อมูล

15:50-16:00 น. ตอบข้อซักถาม

 

 

 

วันที่ 17 มิถุนายน 2568
9:00-10:30 น. การวิเคราะห์ข้อมูลเวกเตอร์

–             การสร้างแนวกันชน (Buffer)

–             การวางซ้อน (Overlay)

–             การสร้างแผนที่ความร้อน (Heatmap)

10:30-10:45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10:45-12:00 น. การสร้างแบบจำลองด้วย Graphical Modeler

–             การกำหนดข้อมูลนำเข้าในแบบจำลอง

–             การกำหนดชุดคำสั่งในแบบจำลอง

12:00-13:00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
13:00-14:45 น. การจัดทำแผนที่

–             การตั้งค่า Layout

–             การเพิ่มและกำหนดคุณสมบัติขององค์ประกอบแผนที่

–             การส่งออกแผนที่

14:45-15:00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15:00-15:50 น. การฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์และจัดทำแผนที่
15:50-16:00 น. ตอบข้อซักถาม

หมายเหตุ: กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

>> ลงทะเบียน << 

International training course on Natural Disasters Management

International training course on

Natural Disasters Management

4-24 June 2025

  • To develop people who have basic knowledge concerning about natural disaster risks and management
  • To improve the effectiveness of natural disaster risk management
  • To develop an important movement of natural disaster preparedness and awareness

 

With the support of TICA, Participant from any country by registration and selection training onsite at Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University, Thailand.

–  more detail is coming soon –

 

การประเมินตัวกำหนดชี้วัดค่าของน้ำสำหรับการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ำ

หลักสูตร “การประเมินตัวกำหนดชี้วัดค่าของน้ำสำหรับการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ำ”

วันอังคารที่ 25 มีนาคม 2568

คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

 

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ กฎหมายกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และแนวปฏิบัติด้านมลพิษทางน้ำ
  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้จากการฝึกอบรมไปปฏิบัติงานได้อย่างถูก และถูกตามกฎหมาย กฎระเบียบ การควบคุมมลพิษทางน้ำ

 

กลุ่มเป้าหมายของโครงการ

  • ผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม ดูแล ระบบบำบัดน้ำเสียของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งผู้วางนโยบายด้านด้านสิ่งแวดล้อม หรือผู้ที่สนใจ

 

ระยะเวลาและสถานที่

  • วันอังคารที่ 25 มีนาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.
  • ณ อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

วิทยากร

          ดร.ชิษนุพงศ์  ประทุม   นักวิจัย ระดับ 2

         ผู้จัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมบุคคลธรรมดา ใบอนุญาตเลขที่ 12/2566

         คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

>> เอกสารประกอบการอบรม << 

กำหนดการ

เวลาหัวข้อวิทยากร
08.00-08.30 น.ลงทะเบียน อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ชั้น 2 ห้อง 4228
คณะสิ่งแวดล้อมฯ ม.มหิดล ศาลายา
 
08.30-9.00 น.ต้อนรับผู้อบรม
ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม  
ดร. ชิษณุพงศ์ ประทุม นักวิจัย ระดับ 2   ผู้จัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมบุคคลธรรมดา ใบอนุญาตเลขที่ 12/2566 คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
9.00-10.30 น.สถานการณ์น้ำใช้ มลพิษทางน้ำ และผลกระทบ
10.30-10.45 น.พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น.กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพน้ำ

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับตัวกำหนดชี้วัดค่าของน้ำ (พารามิเตอร์คุณภาพน้ำ)
12.00-13.00 น.รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น.การประเมินตัวกำหนดชี้วัดค่าของน้ำ (พารามิเตอร์คุณภาพน้ำ)
14.30-14.45 น.พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 น.กรณีศึกษาสำหรับการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ำ

ถาม-ตอบ ประเด็นปัญหา

สรุปภาพรวมของการฝึกอบรม

Environmental Impact Assessment : EIA

หลักสูตรการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA)

จัดโดย กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม และ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

5-7 มีนาคม 2567 

Online ผ่านระบบ Zoom Meeting
Onsite ณ โรงแรมอวานี รัชดา กรุงเทพฯ (Avani Ratchada Bangkok Hotel)

>>  กำหนดการ << 

>> เอกสารประกอบการบรรยาย (สำหรับผู้ได้รับการอบรม) <<< 

 

โครงการค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี

โครงการค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล

สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5

วันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2568

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง
  • เพื่อให้สามารถนาความรู้วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
    ประโยชน์
  • เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และการทางาน
    ร่วมกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รูปแบบกิจกรรม

  •  ศึกษาเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติการ
  • ศึกษาดูงานเน้นการนาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้ประโยชน์และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน

อบรมความปลอดภัยทางชีวภาพ และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (BSL-2)

หลักสูตร “ความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ”

วันที่  20-21 กุมภาพันธ์ 2568 |  08.00 – 17.00 น. 

ณ  อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ กฎหมายกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้จากการฝึกอบรมไปปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องปลอดภัยสอดคล้องตามกฎหมายและมาตรฐานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
ได้รับรองหลักสูตร จาก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เลขที่ทะเบียน สธ 0621.06/6637

** ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับใบประกาศนียบัตร สามารถนำไปขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมห้องปฎิบัติการ BSL-2 ได้ ** 

เนื้อหาหลักสูตรอบรม

  • กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety and Biosecurity Laws and Regulations)
  • หลักการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Principle of Biosafety and Biosecurity)
  • การจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ (Biorisk management)
  • การปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Practice)
  • อุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล (Personal protective equipment: PPE)
  • อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย (Safety equipment)
  • การทำลายเชื้อโรค (Decontamination and Sterilization)
  • การขนส่งเชื้อโรค (Pathogen Transportation)
  • การจัดการขยะติดเชื้อ (Waste Management)
  • การจัดการสารชีวภาพรั่วไหล (Biological Spill Management)
  • ฝึกปฏิบัติการออกแบบสถานที่การจัดวางเครื่องมือและอุปกรณ์ในสถานปฏิบัติการ (Facility design Workshop)
  • ฝึกปฏิบัติการสวมใส่และการถอดอุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล (Personal protective equipment: PPE Workshop)
  • ฝึกปฏิบัติการจัดการสารชีวภาพรั่วไหล (Biological Spill Workshop)

 

อัตราค่าลงทะเบียน

บุคลากรภายในมหิดล 3,000 บาท/ท่าน

บุคคลภายนอก 3,500 บาท/ท่าน

** การลงทะเบียนสมบูรณ์เมื่อชำระค่าลงทะเบียนแล้ว รับจำนวนจำกัด 50 ท่าน **

*** หากผู้สมัครชำระเงินแล้วและไม่สามารถมาเข้าร่วมอบรมได้ ขอสงวนสิทธิ์ในการไม่คืนเงินทุกกรณี ***

>>  ลงทะเบียนอบรม <<< 

*ผู้เข้าอบรมที่ผ่านการประเมินความรู้ตามเกณฑ์ที่กำหนด  จะได้รับใบประกาศนียบัตร

กำหนดการหลักสูตร  < download กำหนดการ >

วันที่  20  กุมภาพันธ์ 2568  
เวลา หัวข้อ วิทยากร
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน (ห้อง 4218)   
08.30-09.00 น. ประเมินความรู้ก่อนเข้ารับการอบรม  
09.00-09.10 น. Course Overview and Orientation รศ.ดร.สุรีย์วัลย์ สิทธิจันดา(ประธานโครงการ)
09.10-10.15 น. บรรยาย 1: กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Laws and Regulations) ผศ.ดร.อดิศักดิ์ ร่มแสง
10.15-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง  
10.30-12.00 น. บรรยาย 2: หลักการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Principle of Biosafety and Biosecurity) ผศ.ดร.อดิศักดิ์ ร่มแสง
12.00-12.45 น. รับประทานอาหารกลางวัน  
12.45 -13.45 น. บรรยาย 3: การปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety Practices)  ผศ.ดร.อดิศักดิ์ ร่มแสง
13.45-14.45 น. บรรยาย 4: การจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ(Bio-risk management) ผศ.ดร.ภญ.ทศวรรณ จิตรวศินกุล
14.45-15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง  
15.00-16.00 น. บรรยาย 5: การทำลายเชื้อโรค(Decontamination and Sterilization)   ผศ.ดร.ภญ.ทศวรรณ จิตรวศินกุล
16.00-17.00 น. ฝึกปฏิบัติการ 1: การออกแบบสถานปฏิบัติการ การจัดวางเครื่องมือและอุปกรณ์ (Facility design) แบ่งเป็น 4 กลุ่ม  อาจารย์ประจำกลุ่ม 4 ท่าน(ผู้ช่วย Lab2, จนท.ผึกอบรม2)
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2568  
เวลา หัวข้อ วิทยากร
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน (ห้อง 4218)  
08.30-09.30 น. บรรยาย 6: การจัดการขยะ  (Waste management)        ดร.รัชธิดา เดชอุดม
09.30-10.30 น. บรรยาย 7: การขนส่งเชื้อโรค (Pathogen Transportation) ดร.รัชธิดา เดชอุดม
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง  
10.45-11.45 น. บรรยาย 8: อุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล (PPE) ดร.จักรพล พันธุวงศ์ภักดี
11.45-12.45 น. บรรยาย 9: อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย (Safety equipment) ดร.จักรพล พันธุวงศ์ภักดี
12.45 –13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน  
13.30- 14.30 น. บรรยาย 10: การจัดการกรณีเกิดเหตุสารชีวภาพรั่วไหล(Spill kit and management) ผศ.ดร.ปรียาพร เกิดฤทธิ์
14.30-16.30 น. ฝึกปฏิบัติการ 2: อุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล (PPE)ฝึกปฏิบัติการ 3: การจัดการกรณีเกิดเหตุสารชีวภาพรั่วไหล (Spill kit and management)ฝึกปฏิบัติการ 4: การขนส่งเชื้ออย่างปลอดภัย แบ่งเป็น 4 กลุ่ม รศ.ดร.สุรีย์วัลย์ สิทธิจันดาผศ.ดร.ปรียาพร เกิดฤทธิ์

ดร.จักรพล พันธุวงศ์ภักดี

ดร.ชิษณุพงศ์ ประทุม

(ผู้ช่วย Lab2, จนท.ผึกอบรม2)

16.30-17.00 น. รับประทานอาหารว่างประเมินความรู้หลังเข้ารับการอบรม (Post-Test) *ผู้เข้าอบรมที่ผ่านการประเมินความรู้ตามเกณฑ์ที่กำหนด  จะได้รับใบประกาศนียบัตร

โครงการฝึกอบรม หลักสูตรการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม

โครงการฝึกอบรม หลักสูตรการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม

วันที่ 23-24 ธันวาคม 2567

ศูนย์วิจัย ตรวจประเมินและให้การรับรองมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลได้มีแนวคิดที่จะยกระดับเสริมสร้างความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 19011 (Environmental Auditing) สำหรับ ISO 14001, Green Office, Green Library และ Green Hotel ให้แก่หน่วยงานและองค์กรต่างๆ

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 19011 (Environmental Auditing) สำหรับ ISO 14001, Green Office, Green Library และ Green Hotel
  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถวางแผนการตรวจประเมินและตรวจประเมินระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานหรือองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

ลักษณะการอบรม

          บรรยาย 9 ชั่วโมง  ภาคปฎิบัติ 3 ชั่วโมง

 

       อัตราค่าลงทะเบียน 3,000 บาท/คน  (รับจำนวนจำกัด 50 ท่าน/หลักสูตร)

  >>  ลงทะเบียนได้ที่ << 

 

 

กำหนดการอบรม

วัน-เวลา

กิจกรรม

วิทยากร

วันจันทร์ที่  23 ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดลฅห้อง 4218

09:00 –  09.10 น.

พิธีเปิด – กล่าวต้อนรับ

 

09:10 – 10:30 น.

บรรยาย:  ความรู้เบื้องต้นของการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม หลักการและความรู้เบื้องต้นของการตรวจประเมินฯ

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต

10:30-10:45 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:45 – 12:00 น.

บรรยาย: หลักการและความรู้เบื้องต้นของการตรวจประเมินฯ

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต

12:00-13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 14.30 น.

บรรยาย: การวางแผนและเตรียมการตรวจประเมิน
Work Shop 1: การทำโปรแกรมการตรวจประเมิน

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต
น.ส.อัจฉรา จิรกุลชัยวงศ์

14:30 – 14:45 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

14.45 – 16.00 น.

บรรยาย: การดำเนินการตรวจประเมิน
การใช้ Checklist เพื่อการตรวจประเมิน
สรุปประเด็นการเรียนการสอน และการถาม-ตอบ

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต
น.ส.อัจฉรา จิรกุลชัยวงศ์

วัน-เวลา

กิจกรรม

วิทยากร

วันอังคารที่  24  ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดลฅห้อง 4218

09:00 – 10:30 น.

บรรยาย: การดำเนินการตรวจประเมิน
การวิเคราะห์และพิจารณาหลักฐานการตรวจประเมิน

Work Shop 2: การวิเคราะห์หลักฐานการเขียนใบร้องขอให้แก้ไขข้อบกพร่อง (CARs) การให้คะแนนตามเกณฑ์การตรวจประเมิน

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต
น.ส.อัจฉรา จิรกุลชัยวงศ์

10:30 – 10:45 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:45 – 12:00 น.

บรรยาย: การรายงานผลตรวจติดตาม และการประชุมทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องและการปิดประเด็น

น.ส.อัจฉรา จิรกุลชัยวงศ์

12:00-13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 16.30 น.

สรุปประเด็นการเรียนการสอน และการถาม-ตอบ
ทดสอบและประเมินผลผู้เข้ารับการอบรม     
หมายเหตุ : 14:30 – 14:45 น. รับประทานอาหารว่าง  

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต

Application Google Earth Engine for Office of The Cane and Sugar Board

โครงการอบรมหลักสูตร การประยุกต์ใช้ Google Earth Engine
ของสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

(Application Google Earth Engine for Office of The Cane and Sugar Board)

วันที่ 16 – 17 กรกฎาคม 2567

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้บุคลากรเข้าใจขั้นตอนพื้นฐานการใช้งานโปรแกรม Google Earth Engine
  2. เพื่อให้บุคลากรสามารถประยุกต์ใช้งานโปรแกรม Google Earth Engine เพื่องานสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายได้
  3. เพื่อให้บุคลากรได้พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีการและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ
    และภูมิสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

วิทยากร

อาจารย์ ดร.พิสุทธิ นาคหมื่นไวย อาจารย์ประจำคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

โครงการสำหรับบุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาล