การประเมินการกักเก็บคาร์บอน และการพัฒนาโครงการ ภาคการปลูกป่าและพื้นฟูป่า (T-Ver)

โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ

การประเมินการกักเก็บคาร์บอนและการพัฒนาโครงการภาคการปลูกป่าและพื้นฟูป่า (T-Ver)

22-23 เมษายน 2568 
ณ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการประเมินการกักเก็บคาร์บอน และการพัฒนาโครงการ T-VER
  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการสร้างระบบการประเมินการกักเก็บคาร์บอน และมีส่วนร่วมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างต่อเนื่อง

เนื้อหาการอบรม

  • ภาพรวมของโครงการ T-VER ภาคการปลูกป่าและการฟื้นฟูป่า
  • การจัดทำเอกสารเพื่อยื่นขายคาร์บอนเครดิต
  • การฝึกปฏิบัติการสำรวจ การเก็บข้อมูลภาคสนาม

อัตราค่าลงทะเบียน  3,500 บาท/ท่าน

(รวมอาหารกลางวัน อาหารว่าง เอกสารประกอบการสอน)

*พิเศษ รับส่วนลด 10% สำหรับหน่วยงานลงทะเบียน 3 คนขึ้นไป

รับจำนวนจำกัด 50 ท่าน

 

>> ลงทะเบียน <<

 

กำหนดการฝึกอบรม

เวลา

รายละเอียด

วันอังคารที่ 22 เมษายน 2568

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

09:00 – 09:05 น.

กล่าวต้อนรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมและกล่าวเปิดโครงการฯ

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กิติกร จามรดุสิต

      คณบดีคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 

09:05 – 10:30 น.

การพัฒนาเอกสารข้อเสนอโครงการ (project design document, PDD)

1. การพัฒนาเอกสารข้อเสนอโครงการ

–   ขั้นตอนการพัฒนาโครงการ 

–   ส่วนประกอบในข้อเสนอโครงการ

–   ระเบียบวิธีการ (Methodology)

–   การวิเคราะห์กรณีฐาน (Baseline)

วิทยากร: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งเรือง พูลศิริ

            ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

10:30 – 12:00 น.

อบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ (ต่อ)

2. เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการ

–   การกำหนดขอบเขตโครงการ

–  การเลือกระเบียบวิธีการ (Methodology) ที่เหมาะสม

–  สาระสำคัญที่จะต้องระบุในเนื้อหา

–  แนวทางการเขียนข้อมูลและการแสดงหลักฐาน

–  วิธีการติดตามประเมินผล (carbon monitoring)

วิทยากร: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งเรือง พูลศิริ

            ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

12:00 – 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

13:00 – 16:00 น.

การนำเข้าข้อมูลการสำรวจในระบบ และการคำนวณ และการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

วิทยากร: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งเรือง พูลศิริ

            ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วันพุธที่ 23 เมษายน 2568

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

09:00 – 12:00 น.

บรรยายหัวข้อ

–      ภาพรวมของโครงการ T-VER ภาคการปลูกป่าและการฟื้นฟูป่า

–      การพัฒนาข้อเสนอโครงการ (PDD, project design document)

–      การกำหนดตัวแปรที่ต้องดำเนินการในภาคสนาม (หลักการจำแนกชั้นภูมิ)

–      การสุ่มตัวอย่าง การวัดการเจริญเติบโตของต้นไม้ การควบคุมค่า CV

วิทยากร: รองศาสตราจารย์ ดร.ธรรมรัตน์ พุทธไทย

            คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

12:00 – 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 16:00 น.

บรรยายหัวข้อ

–          การฝึกปฏิบัติการสำรวจ การเก็บข้อมูลภาคสนาม

–          เทคนิคการสำรวจภาคสนาม

วิทยากร: รองศาสตราจารย์ ดร.ธรรมรัตน์ พุทธไทย

            คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

**หมายเหตุ – กำหนดการอบรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

สอบถามเพิ่มเติม  

0 2441-5000 ต่อ 2225   (วิลินธร) 

email: vilinthorn.xut@mahidol.ac.th

การประเมินตัวกำหนดชี้วัดค่าของน้ำสำหรับการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ำ

หลักสูตร “การประเมินตัวกำหนดชี้วัดค่าของน้ำสำหรับการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ำ”

วันอังคารที่ 25 มีนาคม 2568

คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

 

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ กฎหมายกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และแนวปฏิบัติด้านมลพิษทางน้ำ
  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้จากการฝึกอบรมไปปฏิบัติงานได้อย่างถูก และถูกตามกฎหมาย กฎระเบียบ การควบคุมมลพิษทางน้ำ

 

กลุ่มเป้าหมายของโครงการ

  • ผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม ดูแล ระบบบำบัดน้ำเสียของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งผู้วางนโยบายด้านด้านสิ่งแวดล้อม หรือผู้ที่สนใจ

 

ระยะเวลาและสถานที่

  • วันอังคารที่ 25 มีนาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.
  • ณ อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

วิทยากร

          ดร.ชิษนุพงศ์  ประทุม   นักวิจัย ระดับ 2

         ผู้จัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมบุคคลธรรมดา ใบอนุญาตเลขที่ 12/2566

         คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

>> ลงทะเบียนอบรม << 

กำหนดการ

เวลาหัวข้อวิทยากร
08.00-08.30 น.ลงทะเบียน อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ชั้น 2 ห้อง 4228
คณะสิ่งแวดล้อมฯ ม.มหิดล ศาลายา
 
08.30-9.00 น.ต้อนรับผู้อบรม
ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม  
ดร. ชิษณุพงศ์ ประทุม นักวิจัย ระดับ 2   ผู้จัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมบุคคลธรรมดา ใบอนุญาตเลขที่ 12/2566 คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
9.00-10.30 น.สถานการณ์น้ำใช้ มลพิษทางน้ำ และผลกระทบ
10.30-10.45 น.พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น.กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพน้ำ

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับตัวกำหนดชี้วัดค่าของน้ำ (พารามิเตอร์คุณภาพน้ำ)
12.00-13.00 น.รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น.การประเมินตัวกำหนดชี้วัดค่าของน้ำ (พารามิเตอร์คุณภาพน้ำ)
14.30-14.45 น.พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 น.กรณีศึกษาสำหรับการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ำ

ถาม-ตอบ ประเด็นปัญหา

สรุปภาพรวมของการฝึกอบรม

โครงการค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี

โครงการค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล

สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5

วันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2568

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง
  • เพื่อให้สามารถนาความรู้วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
    ประโยชน์
  • เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และการทางาน
    ร่วมกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รูปแบบกิจกรรม

  •  ศึกษาเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติการ
  • ศึกษาดูงานเน้นการนาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้ประโยชน์และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน