โครงการฝึกอบรม หลักสูตรการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม

โครงการฝึกอบรม หลักสูตรการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม

วันที่ 23-24 ธันวาคม 2567

ศูนย์วิจัย ตรวจประเมินและให้การรับรองมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลได้มีแนวคิดที่จะยกระดับเสริมสร้างความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 19011 (Environmental Auditing) สำหรับ ISO 14001, Green Office, Green Library และ Green Hotel ให้แก่หน่วยงานและองค์กรต่างๆ

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 19011 (Environmental Auditing) สำหรับ ISO 14001, Green Office, Green Library และ Green Hotel
  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถวางแผนการตรวจประเมินและตรวจประเมินระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานหรือองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

ลักษณะการอบรม

          บรรยาย 9 ชั่วโมง  ภาคปฎิบัติ 3 ชั่วโมง

 

       อัตราค่าลงทะเบียน 3,000 บาท/คน  (รับจำนวนจำกัด 50 ท่าน/หลักสูตร)

  >>  ลงทะเบียนได้ที่ << 

 

 

กำหนดการอบรม

วัน-เวลา

กิจกรรม

วิทยากร

วันจันทร์ที่  23 ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดลฅห้อง 4218

09:00 –  09.10 น.

พิธีเปิด – กล่าวต้อนรับ

 

09:10 – 10:30 น.

บรรยาย:  ความรู้เบื้องต้นของการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม หลักการและความรู้เบื้องต้นของการตรวจประเมินฯ

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต

10:30-10:45 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:45 – 12:00 น.

บรรยาย: หลักการและความรู้เบื้องต้นของการตรวจประเมินฯ

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต

12:00-13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 14.30 น.

บรรยาย: การวางแผนและเตรียมการตรวจประเมิน
Work Shop 1: การทำโปรแกรมการตรวจประเมิน

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต
น.ส.อัจฉรา จิรกุลชัยวงศ์

14:30 – 14:45 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

14.45 – 16.00 น.

บรรยาย: การดำเนินการตรวจประเมิน
การใช้ Checklist เพื่อการตรวจประเมิน
สรุปประเด็นการเรียนการสอน และการถาม-ตอบ

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต
น.ส.อัจฉรา จิรกุลชัยวงศ์

วัน-เวลา

กิจกรรม

วิทยากร

วันอังคารที่  24  ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดลฅห้อง 4218

09:00 – 10:30 น.

บรรยาย: การดำเนินการตรวจประเมิน
การวิเคราะห์และพิจารณาหลักฐานการตรวจประเมิน

Work Shop 2: การวิเคราะห์หลักฐานการเขียนใบร้องขอให้แก้ไขข้อบกพร่อง (CARs) การให้คะแนนตามเกณฑ์การตรวจประเมิน

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต
น.ส.อัจฉรา จิรกุลชัยวงศ์

10:30 – 10:45 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:45 – 12:00 น.

บรรยาย: การรายงานผลตรวจติดตาม และการประชุมทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องและการปิดประเด็น

น.ส.อัจฉรา จิรกุลชัยวงศ์

12:00-13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 16.30 น.

สรุปประเด็นการเรียนการสอน และการถาม-ตอบ
ทดสอบและประเมินผลผู้เข้ารับการอบรม     
หมายเหตุ : 14:30 – 14:45 น. รับประทานอาหารว่าง  

รศ.ดร.สยาม อรุณศรีมรกต

โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ หลักสูตร การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI เพื่อเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนขององค์กร

โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการ หลักสูตร

การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI เพื่อเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนขององค์กร

Compliance with GRI Sustainability Reporting Standards for Corporates Sustainability Discloser

วันที่ 17-19 ธันวาคม 2567

 

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ โครงสร้าง แนวคิดหลัก และกระบวนการจัดทำรายงานความยั่งยืนตามมาตรฐาน GRI

     2. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการกำหนดประเด็นสำคัญสำหรับการรายงานความยั่งยืนขององค์กร

     3. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI เพื่อการจัดทำรายงานและเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนขององค์กร

วิทยากร

  • นายโอภาส จารุรัตน์   Lead Verifier การรับรองรายงาน การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG inventory)/การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainability Report)
  • นางสาวสิริรัตน์ รัตนพาณิชย์  Lead CFO verifier, CFO, CFP Consultant, Sustainability Consultant, and related scheme

 

การอบรมภาคบรรยาย (ทฤษฎี) และการฝึกปฏิบัติ (ภาคปฏิบัติการ) รวมจำนวน 18 ชั่วโมง โดยผู้เข้าอบรมต้องมีเวลาเข้าร่วมการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของระยะเวลาการอบรมตลอดหลักสูตรและจะได้รับเอกสารรับรองการอบรม (certificate) จากคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อัตราค่าลงทะเบียน 15,000 บาท/คน

*** พิเศษ สำหรับองค์กรที่สมัคร 2คน ขึ้นไป รับส่วนลด 10 % เหลือเพียงท่านละ 13,500 บาท***

สมัครด่วน รับเพียง 18 ท่าน/ โครงการ  เพื่อความเข้มข้นในการลงมือปฎิบัติการเขียนรายงานที่ใช้ได้จริง

>>> สมัครเลย <<<

 

กำหนดการ

วัน-เวลา

กิจกรรม

วิทยากร

วันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ห้อง 4218 (อาคาร 4 ชั้น 2)

09:00 –  09.10 น.

พิธีเปิด – กล่าวต้อนรับ

 

09:10 – 10:30 น.

Section 1 : Lecture

  • บทนำว่าด้วยความยั่งยืน วัตถุประสงค์และเป้าหมายของมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI
  • ความคาดหวังของผู้เข้าอบรม

คุณโอภาส จารุรัตน์

10:30 -10:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

10:45 – 12:00 น.

Section 2 : Lecture

  • แนวคิดหลัก (Key concepts)
  • ศัพท์บัญญัติ (Terminologies)
  • หลักการสำคัญ (Reporting principle) ของมาตรฐานการรายงานความยั่งยืนของ GRI
  • กระบวนการจัดทำและเปิดเผยรายงานความยั่งยืนตามมาตรฐาน GRI (Reporting in accordance with the GRI Standards)

คุณโอภาส จารุรัตน์

12:00 – 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 – 14:30 น.

Section 3 : Lecture

  • โครงสร้าง the GRI standards;
  • GRI 1: Foundation 2021;  GRI 2: General Disclosers  2021, GRI 3: Material Topics  2021,  GRI Sector Standards และ GRI Topic Standards
  • การประเมินเพื่อกำหนดประเด็นสำคัญ (Materiality assessment: GRI 3)

คุณโอภาส จารุรัตน์

14:30 – 14:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

14:45 –  16:00 น

Section 4 : Workshop 

  • กระบวนการประเมินเพื่อกำหนดประเด็นสำคัญ (Materiality assessment process: GRI 3)
  • การกำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Determine Stakeholders)
  • กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  (Stakeholder engagements)
  • การจัดลำดับประเด็นสำคัญ (Prioritize material topics)

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

วันพุธที่ 18 ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ห้อง 4218

09:00 –  10.30 น.

Section 5 : Lecture

  • GRI 3-3 การจัดการและการเปิดเผยรายประเด็น (Topic management disclosure)

คุณโอภาส จารุรัตน์

10:30 -10:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

10:45 – 12:00 น.

Section 6 : Lecture

  • GRI 2 : General discloser และ Organization profiles
  • GRI 1 : การรายงานและการไม่รายงาน เกณฑ์และการรับรองรายงานความยั่งยืน (Omission , Criteria, and Assurance)

คุณโอภาส จารุรัตน์

12:00 – 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 – 14:30 น.

Section 7 : Workshop

  • รายงานความยั่งยืนรายภาคส่วนและข้อกำหนด (GRI sector as additional requirement)

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

14:30 – 14:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

14:45 –  16:00

Section 8 : Lecture

  • การเตรียมดัชนีเนื้อหา GRI (Prepare GRI content index) และการเชื่อมโยงเพื่อปรับมาตรฐาน GRI ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดมาตรฐานการรายงานอื่น ๆ (Aligning sustainability reporting with other reporting standard) เช่น SDGs และ  แบบ 56-1 one report
  • การเตรียมคำชี้แจงการใช้งานรายงานความยั่งยืน (Prepare statement of use)
  • การเปิดเผยรายงานความยั่งยืนและดัชนีเนื้อ
  • การแจ้งการใช้มาตรฐานฯ ต่อองค์กร GRI

 

 

คุณโอภาส จารุรัตน์

 

วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม 2567

08:30 – 09:00 น.

ลงทะเบียน

อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ห้อง 4218

09:00 –  10.30 น.

Section 9: Workshop

  • การเขียนรายงานความยั่งยืนรายประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม: GRI 305:  Emission

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

10:30 -10:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

10:45 – 12:00 น.

Section 10: Workshop

  • การเขียนรายงานความยั่งยืนรายประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม (300 Environmental topics): GRI 303:  Water and Effluents หรือ GRI 306:  Waste หรือ GRI 304:  Biodiversity

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

12:00 – 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 – 14:30 น.

Section 11: Workshop

  • การเขียนรายงานความยั่งยืนรายประเด็นด้านสังคม 400 (Social topics) GRI 403:  Occupational Health and Safety หรือ GRI 401:  Employment

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์

14:30 – 14:45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

14:45 –  16:00

Section 12: Workshop

  • การเขียนรายงานความยั่งยืนรายประเด็นด้านเศรษฐกิจ 200 (Economic topics) GRI 201: Economic Performance หรือ GRI 205: Anti-corruption

คุณโอภาส จารุรัตน์
คุณสิริรัตน์ รัตนะพานิชย์